วัฒนธรรมท้องถิ่น

วัฒนธรรมท้องถิ่น ความหลากหลายทางประเพณีที่แตกต่างกันแต่ละท้องถิ่นที่น่าสนใจ

วัฒนธรรมท้องถิ่น วัฒนธรรม4ภาค ของคนไทยสืบทอดมาอย่างยาวนานและเป็นที่หลงใหลของคนทั่วโลกมีอะไรบ้าง?

วัฒนธรรมท้องถิ่น ถ้าพูดถึงวัฒนธรรม จะมีเราให้ได้เห็นหลายๆที่ ซึ่งจะแตกต่างกันไป โดยจะเป็นตามภูมิภาค ซึ่งทำให้ชาวต่างชาติ ที่ได้เข้ามาเที่ยวเมืองไทย ต่างหลงใหลกับ วัฒนธรรมในประเทศไทย ซึ่งจะมีอยู่หลายๆที่ ที่น่าสนใจเป็นอย่างมาก เรามาดูกันเลยว่า วัฒนธรรมที่ว่านี้ มีอะไรกันบ้าง จะเป็นวัฒนธรรมเก่าแก่

ซึ่งจะแบ่งได้ 4ภาค ที่อยู่ในประเทศไทยเรา ซึ่งในวัฒนธรรมแรก จะเป็นวัฒนธรรมภาคเหนือ ซึ่งได้มีการสืบทอด มาอย่างช้านาน โดยจะเป็นวัฒธนธรรม ที่มีการจัดขึ้นในท้องถิ่น แต่ละพื้นที่ก็แตกต่างกัน ซึ่งจะเรียกกันว่า ตุง ซึ่งจะศิลปและวัฒนธรรม ของทางภาคเหนือ ซึ่งจะมีลักษณะที่เป็น แผ่นวัตถุ โดยจะมีส่วนปลาย ที่แขวนติดกับเสา

และจะห้อยเป็นแผ่นยาวลงมา มาต่อกันในภาคอีสาน โดยจะเป็นการแลกเปลี่ยน ในเรื่องจองทางวัฒนธรรมขึ้น ซึ่งจะเป็นการถ่ายทอด ในการแลกเปลี่ยนศิลป วัฒนธรรมต่างๆ

โดยจะมีประเพณีระหว่างกัน ซึ่งจะมีวัฒนธรรม และประเพณีที่คล้ายๆกัน มากันที่ภาคกลาง ซึ่งประชาชนในภาคกลาง ส่วนมากจะประกอบอาชีพ ในการทำนาและมีวิถีชีวิต ที่จะเป็นแบบชาวนา ซึ่งวัฒนธรรมต่างๆ จะเป็นการก่อให้เกิดการรักกัน และพึ่งพาอาศัยกัน ซึ่งจะเป็นความเชื่อ

ที่จะเคารพบุคคลสำคัญ ผู้ที่เสียชีวิตไปแล้ว และจะมีหลายวัฒนธรรม มาต่อกันในภาคใต้ ซึ่งจะเป็นประเพณีชักพระ โดยจะเป็นประเพณีของชาวใต้ ที่ได้สืบทอดกันมา กันอย่างยาวนาน โดยมีตั้งแต่สมัยศรีวิชัย ซึ่งจะมีความสำคัญอย่างมาก 

วัฒนธรรมท้องถิ่น วัฒนธรรมภาคเหนือ ที่ทำให้ชาวต่างชาติถึงกับต้องติดใจเมื่อได้มาเจอคืออะไร?

ประเทศไทยในภาคเหนือ เป็นที่น่าจดจำอย่างมาก ซึ่งจะมีวัฒนธรรมที่หลากหลาย และในแต่ละพื้นที่นั้น จะมีวัฒนธรรมที่ต่างกัน ใครที่เคยไปภาคเหนือ จะต้องเคยเห็นกันทุกคน และที่ให้ชาวต่างชาติ ต่างก็ติดใจกันเป็นจำนวนมาก ซึ่งจะมีหลากหลายวัฒนธรรม แต่เราจะนำมาเพียงไม่กี่อัน ซึ่งจะเป็นวัฒนธรรมที่สำคัญ

ซึ่งวัฒนธรรมที่ว่านี้จะเป็นตุง ซึ่งจะเอาไว้ใช้ในงานพิธี ซึ่งตุงจะมีหลากหลายประเภท ตามรูปแบบการใช้งาน อย่างกับตุงสามหาง ซึ่งจะเป็นความเชื่อที่ว่า มนุษย์คนใดที่ตายแล้ว จะต้องมีการเกิดใหม่ ซึ่งจะเป็นภพใดภพหนึ่ง โดยตุงที่ว่านี้จะใช้ในการ เดินนำขบวนศพ ซึ่งคนไทยทางภาคเหนือ จะใช้ตุงเพื่อเป็นการพุทธบูชา

ที่ทำมาอย่างมานาน และยังมีความเชื่ออีกว่า ผู้ที่ได้ถวายตุงนั่น จะเป็นการสร้างกุศล เพื่อที่จะเป็นการสะเดาะเคราะห์ และป้องกันภัยพิบัติต่างๆ และยังเป็นการอุทิศส่วนกุสน ให้แก้ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว แต่จุดหมายหลักในการใช้ตุง ก็เพื่อเป็นการเฉลิมฉลอง ศาสนสถานสถานที่สำคัญ ซึ่งในปัจจุบันนี้เราจะเห็นได้ว่า รูปแบบการผลิตของสังค

ได้เปลี่ยนไปอย่างมาก ซึ่งมีผลทำให้รูปแบบของตุง ได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ซึ่งในการใช้ตุงจะเป็นเพียง สัญลักษณ์หนึ่งในภาคเหนือ ที่จะเน้นทางด้านธุรกิจ อย่างที่เราจะเห็นบ่อยๆ ไม่ว่าจะเป็นในโรงแรม หรือตามเวทีต่างๆ แม้การประกวดนางงาม ก็ยังจะมีให้เราได้เห็นบ่อยๆ ซึ่งคนไทยรุ่นใหม่ ก็ควรที่จะอนุรักษ์

เพื่อเป็นการสืบสาน ของภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้คนรุานหลักได้เห็น ซึ่งจะเป็นเป็นศิลปวัฒนธรรม ที่หาได้จากที่อื่นไม่ได้ แต่จะมีอยู่ในประเทศไทย ในส่วนของภาคเหนือเท้า ซึ่งเป็นวัฒนธรรมที่ดีงาม ที่นักท่องเที่ยวจำนวนมาก ต่างให้ความสนใจ ในวัฒธนธรรมของภาคเหนือนี้

วัฒนธรรมท้องถิ่น วัฒนธรรมที่ชวนหลงใหลกับ วัฒนธรรมภาคอีสาน ที่รู้จักกันไปทั่วโลกดีอย่างไร?

อย่างที่เราได้บอกไป วัฒนธรรมแต่ละที่ จะขึ้นอยู่กับท่องถิ่น หรือขึ้นอยู่ศาสนานั้นๆ และในภาคอีสาน ก็มีวัฒนธรรมที่น่าสนใจ ของคนไทยในภาคอื่น และนักท่องเที่ยวต่างชาติ และคนไทยก็ก็ยังไม่รู้ ว่ามีวัฒนธรรมอะไรบ้าง เราจึงจะพาทุกท่าน ไปพบกับวัฒนธรรมสุดอลังกาล ที่หาได้ที่ภาคเหนือเท่านั้น ซึ่งจะเป็นประเพณีบุญบั้งไฟ

ซึ่งความเป็นมา ที่เกี่ยวกับบุญบั้งไฟนั้น จะมีอยู่หลายอย่าง ซึ่งเป็นการบูชาเทพเจ้า ด้วยบั้งไฟเหล่านี้ ที่จะเป็นเครื่องบูชา ผู้ที่อยู่บนสวรรค์ และในการจุดบั้งไฟ นั้น จะเป็นการละเล่นอย่างหนึ่ง ที่มีมาอย่างยาวนาน และเป็นการเฉลิมฉลอง เนื่องในวันวิสาขบูชา ที่ได้มีการนำเอาดอกไม้ไฟ ในรูปแบบต่างๆไม่ว่าจะเป็น บั้งไฟ ซึ่งชาวบ้านจะเชื่อกันว่า

จะแบ่งเป็นโลกของมนุษย์ โลกของเทวดา โลกบาดาล โดยมนุษย์จะอยู่ภายใต้ การดูแลของเทวดา และในการใช้บั้งไฟเชื่อว่า จะเป็นการบูชาพญาแถน ที่จะแสดงให้เห็นถึง ความจงรักภักดี ซึ่งชาวอีสานส่วนใหญ่ จะเชื่อว่าการบูชาบั้งไฟ จะเป็นการขอฝน แต่ความเชื่อเหล่านี้ ยังไม่พบหลักฐานอะไร แต่เป็นความเชื่อของชาวอีสาน และยังมีความเชื่ออีกหลายๆอย่าง

ที่เป็นวัฒนธรรมชาวอีสาน ที่สืบทอดมาช้านาน และยังหาดูได้อยู่ในปัจจุบัน แต่จะมีในแถบอีสานเท้านั้น ใครที่อยากเห็นบั้งไฟเหล่านี้ ไปหาดู้ได้ที่ภาคอีสาน และจะมีการจัดขึ้น ในทุกๆปีอีกด้วย และในหลายๆจังหวัดด้วยกัน และยังมีอีกหลายๆวัฒนธรรม ที่ทำให้ประเทศไทย เป็นที่นิยมอย่างมาก ของนักท่องเที่ยวต่างประเทศ เราควรรักษาเอาไว้ ให้ลูกหลานได้ดู และจะได้สืบทอด ไปจนชั่วลูกชั่วหลาย

วัฒนธรรมท้องถิ่น

มาดู วัฒนธรรมภาคกลาง ของไทยเรามีอะไรที่น่าสนใจที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนานจนถึงปัจจุบัน

วัฒนธรรมภาคกลาง ก็มีอยู่หลากหลายรูปแบบ ซึ่งคนในภาคกลางจะรู้จักกันดี และได้มีการสืบทอด มาอย่างยาวนาน และเป็นวัฒนธรรมที่น่าสนใจ ที่ทำให้คนทั่วโลก รู้จักกับประเทศไทย อย่างเห็นได้ชัด โดยจะเป็นวัฒนธรรม ในการทำขวัญข้าว ซึ่งจะเป็นประเพณีที่ยังคง ทำกันมาถึงทุกวันนี้ โดยจะทำนาในช่วงของ ก่อนข้าวออกรวง

หลังจากนวดข้าว เพื่อเป็นการเรียกขวัญ ก่อนข้าวที่ปลูกออกรวง ซึ่งจะนิยมทำกันในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ในประเพณีนี้ผู้หญิง จะแต่งกายให้สวยงาม และเมื่อถึงนาของตน ก็จะมีการปักเรือนขวัญข้าว ลงในนาผื้นนั้น และก็นำผ้าซิ่นไปพาดกับต้นข้าว เด็กรุ่นใหม่ๆอาจไม่เคยเห็น แต่เป็นวัฒนธรรมที่สืบทอด กันมาอย่างยาวนาน มาต่อกันที่วัฒนธรรม

หรือประเพณีรับบัวโยนบัว โดยจะจักขึ้นที่อำเภอบางพลี ในจังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งจะมีหลักฐานที่ว่า เป็นประเพณีที่ปฏิบัติสืบทอด กันมากว่า 80 ปีก็ว่าได้ โดยจะเป็นความเชื่อในตำนาน ที่หลวงพ่อโตลอยอยู่ในแม่น้ำเจ้าพระยา และมาหยุดที่คลองสำโรง ซึ่งชาวบ้านจึงช่วยกันนิมนต์ ให้เข้ามาจนถึงวัดบางพลี ซึ่งจะเป็นที่ประดิษฐาน

ที่เราเห็นกันในปัจจุบัน และได้มีการอัญเชิญขึ้นโบสถ์ และชาวบางพลีถือกันว่า หลวงพ่อโตเป็รหลวงพ่อ ของชาวบางพลี ตั้งแต่ในอดีตมาจนปะจจุบัน และนี่คือวัฒนธรรมที่เก่าแก่ ที่ได้สืบทอดกันมายาวนาน จนทำให้ลูกหลานได้เห็น และนำไปปฎิบัติตาม ในภายภาคหน้า และเป็นวัฒนธรรมที่ควรอนุรักษ์ ที่หาดูได้ที่บางพลีที่เดียว

วัฒนธรรมภาคใต้ ที่มีมาอย่างช้านานและมีให้เราได้เห็นในทุกๆปีมาพร้อมความน่าสนใจจะมีอะไรบ้าง

ในภาคใต้ของไทย ก็มีวัฒนธรรมทางศาสนา อยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งจะเป็นวัฒนธรรมที่หาดูยาก และจะมีแค่ในประเทศไทย ในส่งนของภาคใต้เท่านั้น ใครที่อยากเห็นวัฒนธรรมเหล่านี้ ไปหาดูได้ที่ภาคใต้ รับรองได้เลยนะว่า ท่านจะไม่เคยเห็นที่ไหนมาก่อน ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้ว จะเป็นชาวไทยที่นับถือศาสนาพุทธ และในส่วนของทางพื้นที่

ในตอนล่างส่วนใหญ่ จะเป็นชาวไทยเชื้อสายมลายู หรือที่เขาเรียกกันว่า ชาวไทยมุสลิม โดยจะเป็นวัฒนธรรมของท้องถิ่น ในส่วนของภาคใต้ตอนกลาง เป็นประเพณีที่เกี่ยวกับ ความศรัทธาในพระพุทธศาสนา และจะเป็นวิถีชีวิตชาวใต้ ที่มีความผูกพันกับน้ำ ที่จะเรียกกันว่าเป็น ประเพณีชักพระหรือลากพระ โดยจะจัดขึ้นในช่วงของ การออกพรรษา

จะกับวันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ที่จะมีการจัดขึ้นทุกปี และจะเป็นวัฒนธรรมด้านศิลปการแสดง หรือการละเล่นต่างๆ ที่จะบ่งบอกถึงชาวใต้แท้จริง โดยจะเป็นการแสดง หนังตะลุง ซึ่งจะเป็นการแสดง ที่มีอยู่ในพื้นที่ภาคใต้เท่านั้น และเป็นที่นิยมกันแพร่หลาย ซึ่งจะมีอยู่ในทุกจังหวัด ทางภาคใต้ของไทย โดยจะเป็นการเเสดง ในการเชิดตัวแผ่นหนัง

ที่มีการกำหนดเป็นตัวละคร โดยตัวหนังที่ใช้ในการเชิดนี้ จะทำมาจากหนังแพะหรือหนังวัว โดยจะเป็นการตอกลายฉลุ ให้เป็นลวดลายที่งดงาม ในส่วนขอฃเรื่องที่นำมาแสดง ส่วนใหญ่จะเป็นเรื่อง รามเกียรติ์ และเรื่องอื่นๆอีกมากมาย ใครที่อยากดูก็ต้องไปที่ภาคใต้เท่านั้น

และยังเป็นเอกลักษณ์หนึ่ง ของชาวใต้โดยแท้จริง และยังมีการแสดงอีกมากมาย และจะต้องเชื่อได้เลยว่า ยังมีอีกหลายๆคน ที่ยังไม่เคยเห็น ในวัฒนธรรมหาดูยาก เพราะจะมีอยู่บางพื้นที่ ที่มีความแตกต่างกันไป

วัฒนธรรมท้องถิ่น

วัฒนธรรมประเพณี