วัฒนธรรมประเพณี ภาพและประเพณีเก่าๆ ที่มีมาแต่โบราณ ท่านสามารถหาดูได้ที่นี่ คุณค่าของประเพณีไทย
วัฒนธรรมประเพณี วัฒนธรรม คือ วิถีการดำเนินชีวิต ทั้งจากชุมชนที่แสดงถึง วิถีหรือพฤติกรรม ของกลุ่มคน ที่อยู่ร่วมกัน ในสังคมซึ่ง ในแต่ละสังคม ก็จะมีวัฒนธรรม ที่แตกต่างกัน
ซึ่งจะแตกต่างกัน ไปตามสภาพแวดล้อม และภูมิศาสตร์ และส่งสืบทอด กันมาตามรุ่นต่อรุ่น และปรากฏอยู่ชัดเจน จนกลายเป็น สิ่งที่โดดเด่น ประเพณี เป็นสิ่งที่กลุ่มคน
ประพฤติติดต่อกันมา ส่งต่อกันมาอย่างต่อเนื่อง ถ้ามีใครคนใด หรือกลุ่มใด ทำสิ่งแตกต่างไป หรือไม่ได้ประพฤติตาม เรียกกันว่า ผิดประเพณี
ที่เป็นสิ่งที่ ผู้คนยึดถือปฏิบัติกันมา ลักษณะส่วนใหญ่ ของประเพณี จะถูกผูกเข้ากับ ระบบของสังคม จนแยกจากกันไม่ออก จนกลายเป็นสิ่งที่ สังคมปฏิบัติกันมา
อย่างต่อเนื่อง แต่ลักษณะของประเพณี จะแตกต่างกันไป ตามถิ่นที่อยู่อาศัย ของแต่ละพื้นที่ และโดยส่วนมาก มักจะมีความเกี่ยวข้อง กับศาสนา เสียส่วนใหญ่
จึงทำให้ประเพณี จะแตกต่างกันไปตาม ท้องถิ่นที่อยู่อาศัย แต่สิ่งเดียวที่เหมือนกัน คือมักจะถูกผูกเข้ากับ ศาสนาแน่นอน ที่แตกต่างกัน เป็นเพราะค่านิยม ภายในท้องถิ่นเท่านั้น
ซึ่งถูกแบ่งตามสถานที่ ไปตามที่อยู่อาศัย แต่ละพื้นที่ และหลายครั้ง เรามักจะเห็น ประเพณีได้รับ อิทธิพลมาจากต่งประเทศ หรือบางครั้ง มีประเพณีที่ ถูกเชื่อมต่อ
หรือส่งต่อมาจาก ศาสนาอื่นด้วย ไม่ว่าจะเป็น ตรุษจีน วันปีใหม่สากล วันคริศต์มาส บุญบั้งไฟ ยี่เป็ง ฯลฯ ปัจจุบันประเพณี ถูกแยกออก ตามทิศทางเป็น 4 ประเภทใหญ่ เรียกกันว่า ประเพณี 4 ภาคใหญ่ดังนี้
วัฒนธรรมประเพณี ประเพณีของแต่ละภาคมีจริงมั้ย ? วัฒนธรรม ประเพณีไทย 4 ภาค
ภาคเหนือ วัฒนธรรของภาคเหนือ หรือที่เรียกกันว่า “ล้านนา” คือจังหวัดที่อยู่ ทางเหนือของประเทศ มีอยู่ทั้ง 17 จังหวัดที่ถูก ประเพณีและวัฒนธรรม แต่ละจังหวัด ซึ่งเต็มไปด้วย เสน่ห์อันงดงาม เช่นประเพณี
ขึ้นธาตุเดือนเก้า เพื่อบูชาพระบรมสารีริกธาตุ และยังเป็นการ บวงสรวงเทวดา เพื่อเปิดฤดูกาลทำนา
ทอดผ้าป่าแถว เป็นการถวายเครื่องนุ่งห่ม แก่พระภิกษุสงฆ์ ก่อนจะเข้าพิธีลอยกระทง
ลอยโคม เป็นความเชื่อ ว่าจะช่วยปลอดปล่อย ความทุกข์โศก และเรื่องร้ายๆ ให้หายไป
สืบชะตา เป็นพิธีที่ใช้ สืบชะตาบ้านเมือง และบุคคล เหมือนการทำบุญ เมืองประจำปี เพื่อเพิ่ม ความเป็นศิริมงคล ให้กับผู้ที่อยู่ ภายในพิธีสืบชะตานั้น
ทานข้าวสลาก เป็นการจัด อาหารไม่ว่า จะเป็นเครื่องคาวหวาน เพื่อถวายแก่ พระสามเณร ภาษาพื้นเมือง เรียกกันว่า “ตานก๋วยสลาก” และในเทศกาล จะมีการจับสลาก ว่าจะตรงกับ พระพุทธรูปองค์ไหน ก็จะประเคนให้กับ พระพุทธรูปนั้น
สงกรานต์ เรียกกันด้วย ภาษาพื้นเมืองว่า “สังขารล่อง” จะมีการขนทรายเข้าวัด สรงน้ำพระพุทธรูป และรดน้ำดำหัว ผู้ใหญ่ภายในบ้าน หรือผู้ใหญ่ ที่นับถือ
วัฒนธรรมประเพณี ทำไ ม? วัฒนธรรมของแต่ละภาค จึงแตกต่างกันออกไป วัฒนธรรมไทย
ตานตุง เป็นการทำบุญ อุทิศส่วนกุศล ให้กับบรรพบุรุษ เพื่อผู้ที่ล่วงลับ โดยการใช้ ตุง หรือที่แปลว่า ธง ทำขึ้นเพื่อ ใช้เป็นตัวแทน ให้ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว ได้เกาะชายธง เพื่อให้หลุดออกจากขุมนรก และขึ้นไปสวรรค์
ลอยกระทงสาย เป็นการลอย เคราะห์ร้าย เรื่องที่ไม่ดีออกไป เป็นการชำระล้าง เรื่องร้ายต่างๆ และยังเป็นการขอขมา พระแม่คงคาอีกด้วย สรุป วัฒนธรรมและประเพณีไทย
บุญปอยหลวง เป็นการให้ชาวบ้าน ญาติพี่น้อง มาทำบุญร่วมกัน หรือเรียกกันว่า เป็นงานบุญรวมญาตินั่นเอง
แข่งเรือยาว เป็นการนำเรือ ที่ทำจากต้นตะเคียน หรือตะเคียนทอง มาแข่งขันกัน เป็นการละเล่น การแข่งขันมาแต่ยาวนาน นิยมกระทำช่วงเดียวกับ เทศกาลข้าวสลาก
ภาคใต้ วัฒนธรรมของภาคใต้ ที่มีผู้อาศัยอยู่ 14 จังหวัด เป็นประเพณีที่ มีศาสนาทั้งพุทธ และมุสลิม มารวมกัน จนเกิดประเพณีต่างๆ ขึ้นเด็มไปด้วย เสน่ห์ทั้งสองศาสนา ที่รวมกันอย่างแน่นแฟ้น เช่น
ลอยเรือชาวเล เป็นการนำเรือประมง ที่ใช้ในการทำมาหาเลี้ยงชีพ มาชุมนุมกัน พร้อมทำบุญ เพื่อสะเดาะเคราะห์ โดยมีการร้องเพลง ที่เรียกกันว่า “รองเง็ง”
วัฒนธรรมและประเพณีคืออะไร ? ใครเป็นผู้ริเริ่ม ? ศิลป วัฒนธรรม ประเพณี
ประเพณีลาซัง เป็นการทำบุญ พระแม่โพสพ เป็นการทำบุญใหญ่ จากผู้คน ที่ทำนามารวมตัวกัน เพื่อเป็นการเปิดการทำนา ในฤดูกาลต่อไป
แห่ผ้าขึ้นพระธาตุ เป็นการนำผ้า มาห่อหุ้มพระธาตุ และทำบุญตอนกลางคืน อีกทั้งเวียนเทียน รอบพระธาตุ ที่ทำการห่อหุ้ม
สารทเดือนสิบ หรือ ชิงเปรต เป็นการนำอาหาร ทั้งคาวและหวาน ไปทำบุญให้กับ พี่น้องบรรพบุรุษ โดยการวางอาหารคาว หวานไว้บน นั่งร้านเสายกสูง แล้วใช้สายสิญจ์
ให้ทำพิธีทำบุญ หลังจากมีการทำบุญเสร็จแล้ว ชาวบ้านที่ทำบุญร่วมกัน และมีการแย่งอาหาร หลังจากที่ถวายพระเสร็จแล้ว นำกลับบ้านไปกิน เพื่อความศิริมงคลกับครอบครัว
ภาคอีสาน เป็นประเพณี ที่มีกระจาย อยู่ตามจังหวัดทั้ง 20 จังหวัดมี ประเพณีบุญข้าวจี่
รำผีฟ้า เป็นการรำบวงทรวง พระพุทธรูปแกะสลักหิน ข่วงวันเข้า และออกพรรษา
ขึ้นเขาพระนมรุ้ง เป็นทำบุญปิดทอง รอยพระพุทธบาท วัฒนธรรม ประเพณี คือ
ภาพวัฒนธรรมไทย สืบทอดมาตั้งแต่บรรพบุรุษแล้ว และนับถือกันเรื่อยมา
แสกเต้นแสก เป็นการเต้นรำ เพื่อบวงสรวงเจ้า และเป็นพิธีขอขมา เป็นพิธีที่ประกอบ ที่ศาลเจ้าประจำหมู่บ้าน คล้ายกับพิธี ทำบุญกลางหมู่บ้าน โดยการนำไม้มาทาสี ขาวสลับแดง และนำมาเต้นตามจังหวะ
ภาคกลาง สำหรับประเพณี ของภาคกลาง มีอยู่ถึง 22 จังหวัด ที่มีการพัฒนา ประเพณีและวัฒนธรรมมากมาย
ประเพณีอุ้มพระดำน้ำ เป็นความเชื่อ ที่เกิดจากคนกลุ่มหนึ่ง ที่ทำอาชีพหาปลา ได้เกิดเรื่องที่หาปลาไม่ได้ ก่อนจะเห็นพระพุทธรูป ผุดพ้นน้ำมา จึงได้อัณเชิญขึ้นไว้ที่วัด และในทุกปีจะมีการ อัญเชิญพระพุทธรูป ด้วยการอุ้มดำน้ำ เหมือนครั้งแรกที่ผุดขึ้นมา
กวนข้าวทิพย์ เป็นประเพณี ที่ถือเอาช่วงที่ กล้าข้าวในนามีรวงน้ำนมข้าว มีมาตั้งแต่ช่วงต้นรัชสมัย รัชกาลที่ 1
บายศรีสู่ขวัญข้าว เป็นประเพณี หลังเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว เพื่อเป็นการขอโทษ แม่โพสพ และต่อที่นา และต้นข้าวหลังจาก เก็บเกี่ยวข้าวแล้ว มีข้าวที่ตกหล่นหายไป ก่อนจะเก็บเข้ายุ้งฉาง วัฒนธรรม ประเพณีทางศาสนา