วัฒนธรรมอีสาน สาระน่ารู้ ความเป็นมา ของคนอีสาน
วัฒนธรรมอีสาน florentius.com เมื่อหากจะพูดถึง ดินแดนทางภาคอีสาน ของประเทศไทยเรา ซึ่งคนส่วนใหญ่มักจะเรียกผู้คน ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือว่า “คนอีสาน” เรียกไปตามภูมิภาค วัฒนธรรมภาคเหนือ แต่บางคนก็เรียกคนภาคอีสานเต็มปากว่า “คนลาว” ตามวัฒนธรรมและเชื้อชาติ รวมถึงชาติพันธุ์ เพราะในสมัยก่อน 2 ฝั่งโขงระหว่างอีสาน และลาวสมัยโบราณ ที่ยังมีการเดินทางเคลื่อนย้าย ไปมาหาสู่กันอยู่ตลอดเวลา
และก็มีอยู่บ่อยครั้ง วัฒนธรรมภาคกลาง ที่เกิดปัญหา ขัดแย้งทางการเมืองเกิดขึ้น ด้วยความขัดแย้งภายในของลาว เช่นเหตุการณ์หลังสิ้นรัชกาลสมเด็จพระไชยเชษฐา ในปี พ.ศ 2,093 ถึง 2,115 บ้านเมืองเกิดความวุ่นวายโกลาหล เกิดการแย่งชิงอำนาจภายใน และยังมีการเข้ามารุกรานจากพม่า เป็นต้น
ทำให้ผู้คนในประเทศลาวได้อพยพ ไปตั้งหลักถิ่นฐานในที่อื่นๆ รวมไปถึงทางภาคอีสาน ของประเทศไทยเราด้วย แต่ถึงอย่างนั้นประชากร ที่มีอยู่ในอีสาน วัฒนธรรมภาคใต้ ก็ไม่ใช่คนลาวไปซะทั้งหมด เพราะยังมีเผ่าพันธุ์และกลุ่มภาษาอื่นๆมากมาย ตั้งหลักแหล่งถิ่นฐาน ผสมผสานเข้าอยู่ด้วยกัน หลากหลายภาษาแตกต่างกันไป
ซึ่งหากจะพูดถึงภาคอีสานแล้ว ประเพณีภาคตะวันออก มีหลากหลายเผ่าพันธุ์ ที่ถูกบันทึกไว้ของสมเด็จฯ “กรมพระยาดำรงราชานุภาพ” เมื่อตอนที่ท่านได้เสด็จออกไป ตรวจราชการทางภาคอีสานเมื่อปี 2449 ทรงได้เล่าว่านอกจากชาวล้านช้าง กับชาวเวียงจันทน์แล้ว ยังมีชนกลุ่มอื่นๆหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรมภาคเหนือ ประเพณีภาคใตh ประเพณีภาคกลาง ประเพณีภาคเหนือ อยู่ไหนอีสานอีกดังนี้
วัฒนธรรมอีสาน ภาคอีสานมีกี่ภาษา แล้วมีภาษาอะไรบ้าง
วัฒนธรรมอีสาน florentiusวัฒนธรรมอีสานประเพณีท้องถิ่น เที่ยวภาคอีสาน ซึ่งคำว่าอีสานไม่ใช่ชื่อเรียกของคนอีสาน ประเพณีภาคกลาง แต่เป็นชื่อเรียกของภาคเท่านั้น แต่คนดันติดปากแล้วเรียกคนภาคอีสานว่า “คนอีสาน” หรืออีกหนึ่งชื่อเรียก แบบติดปากมากๆคือ “คนลาว” แต่จริงๆแล้วคนทางภาคอีสาน มีภาษาที่หลากหลาย และแตกต่างวัฒนธรรมกันไป ประเพณีภาคใตh เช่นเดียวกับภาคอื่นนั่นแหละ ซึ่งมีเชื้อชาติภาษาดังนี้
- ผู้ไท หรือ “ภูไท” หมายถึง คนเผ่าไทจะอาศัยตามภูตามเขาหรือที่สูง อยู่ที่เรณูนครในจังหวัดนครพนม สกลนคร กาฬสินธุ์ อำนาจเจริญ และยโสธร เป็นต้น
- กะเลิง ส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ใน จังหวัดสกลนคร ซึ่งเมืองเดิมเก่าแก่อยู่ที่เมืองกะตาก จะมีภาษาพูดเป็นของตัวเอง โดยผู้ชายจะนิยมไว้ผมมวย บางคนก็ไว้ผมประบ่า สัญลักษณ์ที่ชอบสักคือรูปนกที่แขนและแก้ม หากค้นหาความหมายคำว่า “กะเลิง’ ยังไม่มีความหมายและยังไม่ค้นพบ แต่ไปค้นพบความหมายไปตรงกับ ในภาษามอญซึ่งแปลว่า “คน” หรือ “มนุษย์” นั่นเอง
- ย้อ โดยไทยย้อ florentius จะอาศัยอยู่หลายพื้นที่ เช่น ในจังหวัดสกลนคร (เมืองท่าขอนยาง) อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ท่าอุเทน จังหวัดนครพนม ซึ่งภาษาอาจจะผิดเพี้ยน ไปจากทางภาคอีสานนิดหน่อย แต่ก็มีความคล้ายคลึงกันอยู่
- แสก หรือ แทรก(ถะ-แหรก) ถิ่นเดิมของชาวแสก จะตั้งอยู่ฝั่งทางซ้าย ใกล้เชิงเขาบรรทัดต่อแดนญวน “เป็นตระกูลพูดภาษาไท-กะได” ปัจจุบันอาศัยอยู่ในอำเภอ อาจสามารถของจังหวัดร้อยเอ็ด
- โย้ย หรือ ไทโย้ย ซึ่งชาวไทยโย้ย อพยพมาจากฝั่งลาว และมาตั้งรกรากถิ่นฐาน อยู่ที่อำเภออากาศอำนวย อำเภอสว่างแดนดิน อำเภอวานรนิวาส และอำเภอพังโคน โดยอาศัยอยู่ในจังหวัดสกลนครเป็นส่วนใหญ่
- กะโซ่ ในปี พ.ศ 2359 ชาวกะโส้ได้อพยพ เข้ามาสู่อีสานครั้งใหญ่ จากพื้นที่ต่างๆ เช่น เมืองอ่างคำ เซกอง เมืองคำม่วน เมืองเซโปน โดยแยกย้ายกันไปทั่วทุกพื้นที่ ของภาคอีสานก็ว่าได้ไม่ว่าจะเป็น จังหวัดหนองคาย จังหวัดสกลนคร จังหวัดนครพนม จังหวัดกาฬสินธุ์ อุบลราชธานี แต่โดยเฉพาะจังหวัดมุกดาหาร จะมีความหนาแน่นของชาวโส้ อาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก
- เขมรป่าดง หรือ กูย “กวย” และ ส่วย florentius อาศัยอยู่ที่จังหวัดสุรินทร์ ซึ่งชื่อของกูยหรือส่วยเกิดจากการส่งส่วยนั่นเอง
ซึ่งในปัจจุบันผู้คนเหล่านี้ ได้กระจัดกระจายกันไปทั่ว เพราะการไปมาหาสู่กันง่ายขึ้น ทำให้ผู้คนเหล่านี้ขยายไปในพื้นที่ต่างๆ เช่นเดียวกับคนภาคอื่นๆ ประเพณีภาคเหนือ วัฒนธรรมภาคเหนือ วัฒนธรรมภาคกลาง วัฒนธรรมภาคใต้
florentiusวัฒนธรรมอีสานประเพณีท้องถิ่น เที่ยวภาคอีสาน วัฒนธรรมภาคเหนือ และนอกจากผู้คนที่กล่าวมาข้างต้นนั้น ยังมีอีกกลุ่มนึงที่อาศัย อยู่บริเวณต้นน้ำมูลคือ ไทยโคราช หรือไทยเทิ้ง ที่อาศัยอยู่ในจังหวัดนครราชสีมา วัฒนธรรมภาคใต้ สันนิษฐานว่าถิ่นฐานเดิมอาจจะอยู่ภาคกลาง
วัฒนธรรมอีสาน แนวเพลงกับภาพยนตร์มีความเชื่อมโยงกับวัฒนธรรมสมัยยังไง
วัฒนธรรมอีสาน florentius.com แล้วทำไมเพลงอีสาน ประเพณีภาคตะวันออก หรือวัฒนธรรมทางภาคอีสาน ถึงได้รับการยอมรับมากขนาดนี้ เพราะวัฒนธรรมทางภาคอีสาน ไม่ว่าจะเสนอในรูปแบบใดๆ เพราะเป็นวัฒนธรรมที่ไม่มีความตายตัว ไม่มีกรอบและไม่มีนิยามที่ถูกผิดแบบตายตัว เพราะฉะนั้นวัฒนธรรมของภาคอีสาน จึงเหมือนดั่งกับสายน้ำ ที่สามารถอยู่ได้ในทุกรูปแบบบรรจุภัณฑ์ ทำให้เกิดรูปแบบของอีสานใหม่ๆ เกิดขึ้นมาอยู่ตลอดเวลา วัฒนธรรมภาคเหนือ วัฒนธรรมภาคกลาง
หากจะยกตัวอย่างเช่น “วงหมอลำ” จากที่ปกติหมอลำจะรำกับแคน จนถูกประยุกต์ให้กลายมาเป็นหมอลำซิ่ง ที่ผสมผสานดนตรีสมัยใหม่เข้าไป ซึ่งรากฐานของคนอีสาน เป็นคนมักม่วนอยู่แล้ว และในหมอลำในปัจจุบัน ก็มีการแต่งกายที่เอาชุดลิเกมาใส่ แล้วยังมีการแต่งกายแบบสาวเกาหลี ให้เห็นในการแต่งกายของหมอลำในปัจจุบัน ประเพณีภาคใตh ประเพณีภาคกลาง
เพราะสิ่งสำคัญเลยก็คือในปัจจุบัน florentiusวัฒนธรรมอีสานประเพณีท้องถิ่น เที่ยวภาคอีสาน ไม่มีคำว่าผิดหรือถูกในวัฒนธรรมนี้ เพราะเขาคำนึงถึงคือ “จะทํายังไงให้คนดูหน้าเวที สนุกสนานไปกับเราได้มากที่สุด” และยังเกิดรถแห่ขึ้นมาแทนกลองยาว แต่ทั้งนี้ก็ยังมีคนอนุรักษ์ วงดนตรีกลองยาวไว้เช่นเดิม
หรือหากจะพูดถึงภาพยนตร์ ก็ยังมีมากมายหลายเรื่อง ที่ได้รับความนิยมมาก เช่น แหยมยโสธร ไทบ้านเดอะซีรีส์ หมอลำมาเนีย ที่เป็นที่นิยมมาก จนเกิดเป็น culture ประเพณีภาคตะวันออก ประเพณีภาคใตh ประเพณีภาคกลาง ประเพณีภาคเหนือ เกี่ยวกับภาคอีสานเยอะแยะมากมาย จึงทำให้ผู้คนได้รู้จักตัวตน ของคนภาคอีสานมากขึ้น จากการเล่าเรื่องผ่านภาพยนตร์และบทเพลง
วัฒนธรรมอีสาน อาหารการกิน ของคนภาคอีสาน เป็นแบบไหน
เอกลักษณ์สำคัญที่เด่นชัด florentius.com สำหรับอาหารการกินของคนภาคอีสาน ถ้าจะไม่พูดถึงก็คงไม่ได้เลย สำหรับส้มตำอีสาน หรือคนอีสานเรียกมันว่า “ตำบักหุ่ง” ซึ่งส้มตำในปัจจุบันไม่ใช่แค่เพียง ตำปูปลาร้า เพียงอย่างเดียว แต่ส้มตำสามารถกินกับอะไรก็ได้ จึงเกิดส้มตำเยอะแยะมากมายเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นตำซั่ว ตำถาด ตำปู ตำกุ้งสด ตำป่า ตำโคราช ตำไทย ตำแตง ตำถั่ว ฯลฯ นี่แหละคือมันคือเสน่ห์ของความไม่ตายตัวในวัฒนธรรม florentius วัฒนธรรมภาคกลาง วัฒนธรรมภาคใต้ ประเพณีภาคตะวันออก ก็คล้ายกัน
- ความเป็นมาของส้มตำ florentiusวัฒนธรรมอีสาน ที่ไม่ใช่ของโบราณ แต่รสชาติติดปาก จัดจ้านติดใจมาตลอด 50 ปี
ไม่มีข้อสันนิษฐานที่ชัดเจนว่า ส้มตำนั้นเกิดมาได้ยังไง แต่เมื่อเราหรอ 50 ปีก่อนหน้านี้ ในช่วงสงครามเวียดนาม ได้มีการสร้างสะพานมิตรภาพขึ้น เพื่อที่จะใช้ลำเลียงยุทโธปกรณ์ต่างๆ และยังได้นำเมล็ดพันธุ์มะละกอมาปลูก ทั้งสองฝั่งของถนนมิตรภาพ และด้วยภูมิปัญญาของชาวอีสาน ประเพณีภาคเหนือ จึงคิดค้นส้มตำหรือตำมะละกอขึ้นมา
ส้มตำหรือตำบักหุ่ง จึงไม่ได้จัดอยู่ในอาหาร ดั้งเดิมโบราณของไทยลาว อย่างที่หลายๆคนเข้าใจ เพราะวัตถุดิบไม่ว่าจะเป็นมะละกอหรือพริก ต่างก็ได้รับมาจากต่างประเทศ และน้ำปลาที่ใช้ก็ใช้ปลาทะเลทำ แต่ถึงยังไงก็ไม่มีใครปฏิเสธได้ว่าส้มตำ คืออีก 1 จานที่ถูกจัดว่าเป็น อาหารที่อร่อยที่สุดในโลก สำหรับนักท่องเที่ยวที่เคยแวะเวียน มาเยี่ยมเยียนในประเทศไทย
และยังมีอาหารที่ถูกประยุกต์ จากคนอีสานโดยการใช้ปลาร้า เข้าไปเป็นส่วนผสมผสาน ให้เกิดอาหารรูปแบบใหม่ๆเกิดขึ้น จึงไม่มีความตายตัว ในวัฒนธรรมการกินของคนภาคอีสาน วัฒนธรรมภาคใต้ ประเพณีภาคตะวันออก ประเพณีภาคใตh ประเพณีภาคกลาง ประเพณีภาคเหนือ
florentiusวัฒนธรรมอีสาน ก้าวเข้าสู่ยุค ที่ผู้คนให้การยอมรับกันมากขึ้น และให้เกียรติกันมากยิ่งขึ้น
florentiusวัฒนธรรมอีสาน ซึ่งในวิธีคิดและมุมของคนทั่วไปเมื่อ 10 ปีกว่าที่ผ่านมา florentiusวัฒนธรรมอีสานประเพณีท้องถิ่น เที่ยวภาคอีสาน หรืออาจจะมีคนที่หลงเหลือ ความคิดนี้อยู่ในปัจจุบัน ที่มีวิธีคิดและมุมมองต่อภาพลักษณ์ ของคนอีสานในแง่ลบมาโดยตลอด เช่นมองว่าภาคอีสานเป็นดินแดนแห่งความแรงแค้น ดินแดนที่มีแต่ความจน ภาพลักษณ์ที่ถูกนำเสนออย่างต่อเนื่อง
ในสื่อหลายๆช่องทาง ไม่ว่าจะบทละครหรือบทเพลงลูกทุ่ง ซึ่งบทในภาพยนตร์หรือละคร คนใช้จะเป็นคนภาคอีสานส่วนใหญ่ และขนบธรรมเนียมที่ใช้คนอีสาน เพื่อนำมาเป็นคนใช้ในบทละครทีวี และในปัจจุบันก็เปลี่ยนมาใช้ เป็นคนใช้แรงงานต่างด้าวแทน (แรงงานต่างด้าวเป็นชื่อเรียก จากทางรัฐตั้งให้) คือคนต่างชาติที่เข้ามาใช้แรงงานในเมืองไทย
แต่ในปัจจุบันเราได้ก้าวเข้ามาสู่ยุค ที่ผู้คนให้การยอมรับกันมากขึ้น และให้เกียรติกันมากยิ่งขึ้น ดังนั้นเราจึงเห็นได้ว่า ปัจจุบันการฟังเพลงอีสาน หรือการแสดงตัวตนว่าเราเป็นคนอีสาน ก็ไม่ใช่เรื่องน่าอายอีกต่อไป และหลายคนก็กล้าที่จะประกาศอัตลักษณ์ ความเป็นอีสานผ่านภาษาของตัวเอง ได้อย่างไม่เคอะเขินไม่น่าอายอีกต่อไป
วัฒนธรรมภาคเหนือ วัฒนธรรมภาคกลาง เพราะความเป็นภาคอีสาน มีทั้งความเท่ และมีเสน่ห์ในตัวของมันเอง บวกกับคนอีสานชอบสนุกสนาน อาหารการกินที่มีความอร่อย รสชาติติดปากแซ่บติดใจ ที่ใครต่อใครก็อยากเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งภาคอีสาน เพราะภาษาอีสานหรืออัตลักษณ์ ของชาวอีสานเป็นที่ยอมรับ สำหรับภาคอื่นๆมากขึ้น เลยมีอิทธิพลมากสำหรับละครทีวี และภาพยนตร์รวมไปถึงบทเพลงมากมาย ที่เป็นที่นิยมในปัจจุบันนี้